การแทรกสอดของคลื่น(Interference)
การแทรกสอดของคลื่น(Interference)
[1] รูปที่ 36 แสดงการแทรกสอดของคลื่นจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์
 คือการรวมกันของคลื่นต่อเนื่องสองขบวน อันเนื่องมาจากคลื่นทั้งสองขบวนเคลื่อนที่ไปพบกัน
-ตำแหน่งที่เกิดการรวมแบบเสริมกัน จะมีค่าแอมพลิจูดมาก เรียกตำแหน่งนี้ว่า ปฏิบัพ(Antinode : A)
-ตำแหน่งที่เกิดการรวมแบบหักล้างกันจะมีค่าแอมพลิจูดน้อยเกือบเป็นศูนย์ เรียกตำแหน่งนี้ว่า บัพ(node : N)
 
[31] รูปที่ 37 แสดงการแทรกสอดของคลื่นจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์
แหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์ (Coherent Sources)
คือแหล่งกำเนิดคลื่นที่มีความถี่เท่ากัน ความยาวคลื่นเท่ากัน อัตราเร็วเท่ากัน แอมพลิจูดเท่ากัน มีเฟสตรงกันหรือต่างกันคงที่
รูปที่ 38 แสดงการแทรกสอดของคลื่นจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์
จากรูปที่ 38 มีแนว A เป็นแนวปฏิบัพ และมี N เป็นแนวบัพ
พิจารณาบนแนวปฏิบัพ (A)
S1P – S2P = n   เมื่อ n = 0,1,2,3,……..
โดย n เป็นตัวเลขแสดงลำดับที่ของ Antinode
พิจารณาบนแนวบัพ (N)
      เมื่อ n = 1,2,3,……..
                                            โดย n เป็นตัวเลขแสดงลำดับที่ของ Node
ถ้าหากเกิดการแทรกสอดกันอยู่ห่างจากแหล่งกำเนิดมากๆ จะได้ S1P – S2P = dsin จะได้
รูปที่ 39 แสดงการแทรกสอดของคลื่นจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์
        เมื่อเสริมกัน      เมื่อ n = 0,1,2,3,…….. แนวปฏิบัพทั้งหมด = 2n+1
        เมื่อหักล้างกัน    เมื่อ n = 1,2,3,…….. แนวบัพทั้งหมด = 2n
        เมื่อ เป็นมุมเล็กๆ จะได้ dsin=dtan จะได้
        เมื่อเสริมกัน      เมื่อ n = 0,1,2,3,……..
        เมื่อหักล้างกัน    เมื่อ n = 1,2,3,…….. 
การแทรกสอดของคลื่น(Interference)
ต้นกำเนิดคลื่น S1 และ S2 เป็นแหล่งกำเนิดอาพันธ์ให้คลื่นมีความยา่วคลื่น 0.5 เมตร ที่จุด P
ซึ่งอยู่ห่างจาก S1 เท่ากับ 5 เมตร และอยู่ห่าง S2 เท่ากับ 4 เมตร จะเป็นจุดบัพหรือปฏิบัพที่เท่าำไร
        วิธีทำ ใช้  S1P – S2P = n เป็นการรวมกันแบบเสริม (S1P – S2P เป็นจำนวนเต็มเท่าของ )
                 จาก   S1P – S2P = n
                         5m - 4m  = n (0.5m)
                                    n  = 2
                 จุด P เป็นจุดปฏิบัพที่ 2 จากแนวกลาง
ต้นกำเนิดคลื่น S1 และ S2 เป็นแหล่งกำเนิดอาพันธ์ให้คลื่นมีความยา่วคลื่น 4 เซนติเมตร อยู่ห่างกัน 8
เซนติเมตร จะเกิดแนวบัพกี่แนวระหว่าง S1 กับ S2
         วิธีทำ จาก
                       (แนวบัพทั้งหมด ระหว่าง S1 กับ S2 ใช้ = 90 องศา)
(ทศนิยมตัดทิ้ง)
จำนวนบัพทั้งหมด = 2n = 2(2) = 4 บัพ


ติวเข้ม ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ที่บ้าน กับ ทีม ติวเตอร์ดีดี แอทโฮม

กด like ติดตามเรา

ติดตามเรา บน facebook

STAT

Flag Counter

ติดตามข่าวสารการศึกษา

 
Top