คือปรากฏการณ์ที่คลื่นสามารถเคลื่อนผ่านสิ่งกีดขวางแล้วสามารถเคลื่อนที่อ้อมไปทางด้านหลัง
ของสิ่งกีดขวางได้ เช่น การเลี้ยวเบนผ่านขอบของสิ่งกีดขวาง หรือ การเลี้ยวเบนผ่านช่องเล็กๆ ที่เรียกว่า Slit
การเลี้ยวเบนเป็นคุณสมบัติเฉพาะของคลื่น
ของสิ่งกีดขวางได้ เช่น การเลี้ยวเบนผ่านขอบของสิ่งกีดขวาง หรือ การเลี้ยวเบนผ่านช่องเล็กๆ ที่เรียกว่า Slit
การเลี้ยวเบนเป็นคุณสมบัติเฉพาะของคลื่น
[21] รูปที่ 41 แสดงการเลี้ยวเบนของคลื่นเมื่อเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง
การอธิบายปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนของคลื่น อธิบายโดยใช้หลักของฮอยเกนส์
หลักของฮอยเกนส์
(Huygen’s principle)
“ทุกๆ จุดบนหน้าคลื่นเดียวกัน อาจถือว่าเป็นแหล่งกำเนิดคลื่นชุดใหม่ ที่แผ่ออกไปทุกทิศทาง
ด้วยอัตราเร็ว เท่าเดิม”่
“ทุกๆ จุดบนหน้าคลื่นเดียวกัน อาจถือว่าเป็นแหล่งกำเนิดคลื่นชุดใหม่ ที่แผ่ออกไปทุกทิศทาง
ด้วยอัตราเร็ว เท่าเดิม”่
กระจายหน้าคลื่นวงกลมที่มีเฟสเดียวกัน ความถี่เท่ากัน ออกไปเสริมกันเป็นหน้าคลื่นอันใหม่
ซึ่งก็คือเส้นสัมผัสหน้าคลื่นวงกลมนั่นเอง ดังรูป
[23] รูปที่ 42 แสดงการกำเนิดคลื่นใหม่ตามหลักของฮอยเกนส์
ทุกๆอนุภาคบนหน้าคลื่นจะทำตัวเป็นแหล่งกำเนิดคลื่นใหม่
(secondary source) ให้คลื่นใหม่ออกไป
(secondary wave) ดังแสดงโดยครึ่งวงกลมเล็กๆแต่จะไม่ให้คลื่นย้อนกลับมาในทิศตรงข้าม
(secondary wave) ดังแสดงโดยครึ่งวงกลมเล็กๆแต่จะไม่ให้คลื่นย้อนกลับมาในทิศตรงข้าม
การเลี้ยวเบนของคลื่นผ่านช่องแคบเดี่ยว
(Single Slit)
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง ซึ่งเป็นช่องแคบคลื่นจะเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบไป ปรากฏเป็นคลื่นหลัง
สิ่งกีดขวางได้ ซึ่งการเลี้ยวเบนนี้จะเกิดได้ดี ถ้าหากช่องแคบนั้นมีความกว้างประมาณเท่า หรือน้อยกว่า
ความยาวคลื่น โดยเสมือนหนึ่งว่าช่องแคบนั้นทำหน้าที่เป็นแหล่งกำเนิดคลื่นใหม่ให้หน้าคลื่นวงกลม
ออกมารอบช่องแคบนั้น แต่ถ้าช่องแคบนั้นกว้างกว่าความยาวคลื่นจะเกิดการเลี้ยวเบนและเกิดการแทรกสอด ขึ้นด้วย ดังรูป
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง ซึ่งเป็นช่องแคบคลื่นจะเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบไป ปรากฏเป็นคลื่นหลัง
สิ่งกีดขวางได้ ซึ่งการเลี้ยวเบนนี้จะเกิดได้ดี ถ้าหากช่องแคบนั้นมีความกว้างประมาณเท่า หรือน้อยกว่า
ความยาวคลื่น โดยเสมือนหนึ่งว่าช่องแคบนั้นทำหน้าที่เป็นแหล่งกำเนิดคลื่นใหม่ให้หน้าคลื่นวงกลม
ออกมารอบช่องแคบนั้น แต่ถ้าช่องแคบนั้นกว้างกว่าความยาวคลื่นจะเกิดการเลี้ยวเบนและเกิดการแทรกสอด ขึ้นด้วย ดังรูป
[19] รูปที่ 43 แสดงการเลี้ยวเบนของคลื่นเมื่อเคลื่อนที่ผ่านช่องแคบเดี่ยว
[7] รูปที่ 44 แสดงการแทรกสอดของคลื่นที่เลี้ยวเบนผ่านช่องแคบเดี่ยว
จากรูปที่ 44 จะเห็นว่า ถ้าช่องแคบมีความกว้างกว่าความยาวคลื่น
คลื่นจะเลี้ยวเบนแล้วเกิดการแทรกสอด
โดยที่แนวกลางไม่มีการแทรกสอด (ไม่มี n = 0) แต่ถัดออกไปทั้งสองข้างเกิดแนวบัพ และปฏิบัพขึ้น
โดยที่แนวกลางไม่มีการแทรกสอด (ไม่มี n = 0) แต่ถัดออกไปทั้งสองข้างเกิดแนวบัพ และปฏิบัพขึ้น
การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction)
รูปที่ 45 แสดงการเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบเดี่ยว
จากรูป เมื่อ D>>d (D มีค่ามากกว่า
d มากๆ) จะได้ sin
= tan
จะได้
เมื่อ n = 0, 1, 2, 3, .......
การเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบคู่
(Double Slits)
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านช่องแคบคู่ ซึ่งมีขนาดช่องเล็กๆ พบว่าช่องเล็กๆ นั้นทำหน้าที่เป็นแหล่งกำเนิดคลื่นอันใหม่
ที่กระจายคลื่นวงกลมออกมา เกิดการแทรกสอดกันเป็นไปตามกฎการแทรกสอด ของแหล่งกำเนิดคลื่น
สองแหล่งจริงๆ ปรากฏเป็นแนวปฏิบัพ และบัพ ดังรูป
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านช่องแคบคู่ ซึ่งมีขนาดช่องเล็กๆ พบว่าช่องเล็กๆ นั้นทำหน้าที่เป็นแหล่งกำเนิดคลื่นอันใหม่
ที่กระจายคลื่นวงกลมออกมา เกิดการแทรกสอดกันเป็นไปตามกฎการแทรกสอด ของแหล่งกำเนิดคลื่น
สองแหล่งจริงๆ ปรากฏเป็นแนวปฏิบัพ และบัพ ดังรูป
[48] รูปที่ 46 แสดงการแทรกสอดของคลื่นที่เลี้ยวเบนผ่านช่องแคบคู่
ถ้าช่องแคบเดี่ยวกว้างเป็น
5 เท่าของความยาวคลื่น จะเกิดแนวบัพได้กี่แนว และแนวบัพแรกจะทำมุมกี่องศากับแนวกลาง
วิธีทำ
หาจำนวนแนวบัพทั้งหมดที่เกิดขึ้น (ใช้มุม
เท่ากับ 90 องศา)
จากโจทย์
d = 5
n = ?
และจาก dsin= n
n = ?
และจาก dsin= n
5
sin90° = n
n
= 5
แนวบััพทั้งหมด
= 2n = 2(5) = 10 แนว
หาแนวบัพแรกทำมุมกี่องศากับแนวกลาง
วิธีทำ จากโจทย์ d
= 5
n = 1
= ?
และจาก dsin= n
n = 1
= ?
และจาก dsin= n
5sin=
n
=
sin-1(0.2)
แนวบัพแรกทำมุม
sin-1(0.2) กับแนวกลาง
คลื่นน้ำชุดหนึ่งมีความยาวคลื่น
2 เซนติเมตร มีหน้าคลื่นขนานกับช่องแคบเดี่ยวกว้าง 5.5 เซนติเมตร
จะทำให้เกิดแนวบัพทั้งหมดได้กี่แนว
วิธีทำ
หาจำนวนแนวบัพทั้งหมดที่เกิดขึ้น (ใช้มุม
เท่ากับ 90 องศา)
จากโจทย์
d = 5.5 cm = 5.5x10-2 m
= 2 cm = 2x10-2 m
n = ?
และจาก dsin= n
= 2 cm = 2x10-2 m
n = ?
และจาก dsin= n
(5.5x10-2 m)sin90°
= n(2x10-2 m)
n = 2.75 (มีเศษให้ตัดทิ้ง)
จะได้ n = 2
จะได้ n = 2
แนวบััพทั้งหมด
= 2n = 2(2) = 4แนว